Home – SDGs for All

A project of the Non-profit International Press Syndicate Group with IDN as the Flagship Agency in partnership with Soka Gakkai International in consultative status with ECOSOC

Watch out for our new project website https://sdgs-for-all.net

Photo: Farmer Sittipong Yanaso at his durian farm. Credit: CCDKM.

‘สมาร์ทฟาร์ม’ ทำการเกษตรไทยให้เพียงพอและยั่งยืน

โดย Kalinga Seneviratne

จันทบุรี, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย (idn) – เกษตรกรชาวไทยกำลังคืนสู่สามัญภายใต้สูตร “ไร่อัจฉริยะ” ที่ได้รับการสนับสนุนโดยเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ (ICT) ที่ผสานรวมเข้าไปในแนวคิด“เศรษฐกิจพอเพียง” ของศาสนาพุทธเพื่อทำให้โลหิตแห่งชีวิตของอาณาจักร คือเกษตรกรรมและเกษตรกรขนาดเล็ก ยั่งยืนไปสู่อนาคตอันใกล้

“เกษตรกรบางรายใช้ปุ๋ยเคมีเพื่อให้ได้ผล [จากต้นไม้] มากขึ้น (แต่) ลำต้นมันจะตายภายในสามถึงห้าปี ที่นี่เราใช้ปุ๋ยอินทรีย์และลำต้นของเราอยู่ได้ถึง 30 ปีเลย” เกษตรกร สิทธิพงส์ ยานโส กล่าวกับ IDN ที่ไร่ทุเรียนสวนผสมที่เขียวชอุ่มของเขานี้

“เรามีใบไม้แห้งมากพอเป็นปุ๋ยของเรา” เขากล่าวเสริม โดยชี้ไปที่ภูเขาเขียวขจีที่รายล้อมพื้นที่เพาะปลูกของตน ขณะที่แสดงให้เห็นต้นกล้วยที่โตอยู่ระหว่างต้นทุเรียนของเขา เขาก็อธิบายว่าหลังเก็บเกี่ยวผลไม้จะมีการใช้ลำต้น ซึ่งเป็นเคล็ดที่ตกทอดกันมาจากบรรพบุรุษ

Read More...
Photo: Dr Poonchai Chitanuntavitaya, Chief Medical Officer of Social Health Enterprise, supervising his trainees while giving massages to visitors to the school for marginalised children, supported by a foundation set up by Princess Maha Chakri Sirindhorn, to empower the students to break into the medical field through an unconventional career path that is providing a multi-faceted approach to addressing the Sustainable Development Goals (SDGs).

แพทย์ชาวไทยสร้างแนวทางรอบด้านสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

โดย Kalinga Seneviratne

จันทบุรี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย (IDN) – นายแพทย์ท่านหนึ่งผู้มีความกระตือรือร้นและเต็มไปด้วยจิตสำนึกต่อสังคมในชุมชนเกษตรกรรมในชนบทของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย กำลังร่วมมือกับโรงเรียนสำหรับเด็กด้อยโอกาส โดยได้รับการสนับสนุนจากมูลนิธิที่ก่อตั้งโดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชธิดาลำดับที่สองในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชที่เสด็จสวรรคตในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559

โรงเรียนแห่งนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนมีโอกาสเข้าศึกษาต่อในสาขาการแพทย์ ผ่านสายอาชีพที่แหวกแนวซึ่งมอบแนวทางที่รอบด้านเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGS).

Read More...

การประชุมนครรัฐวาติกันเน้นย้ำแก่นสำคัญระหว่างการพัฒนาที่ยั่งยืนและการห้ามการใช้งานอาวุธนิวเคลียร์

โดย Ramesh Jaura

นครรัฐวาติกัน (IDN) – เมื่อกลุ่มผู้นำของโลกได้กำหนดให้ ‘การปฏิรูปโลกของเรา: วาระแห่งปี 2030 สำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน‘ เป็นเอกสารแสดงถึงผลลัพธ์ของการประชุมองค์การสหประชาชาติสำหรับการปรับใช้การพัฒนาหลังปี-2015 เมื่อสองปีที่แล้ว พวกเขากำหนดให้เอกสารนี้เป็น “แผนดำเนินการสำหรับประชาชน โลกและความมั่งคั่ง” ที่ “มุ่งหวังในการเสริมสร้างสันติภาพสากลเพื่ออิสรภาพที่มากยิ่งขึ้น”

เอกสารซึ่งประกอบไปด้วย 17 เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs) และ 169 เป้าหมายนั้นอยู่บนพื้นฐานของเอกฉันท์ที่มาจากการหารือเป็นเวลานานภายในกลุ่มทำงานเชิงเปิด อีกทั้งระมัดระวังในการหลีกเลี่ยงการใช้คำศัพท์เช่น “โลกที่ปราศจากอาวุธนิวเคลียร์”

Read More...

เมียนมาอาจสามารถเรียนรู้จากศรีลังกาในด้านการแก้ปัญหา “เบงกาลี”

โดย Jayasri Priyalal*

สิงคโปร์ (IDN) – วิกฤติโรฮีนจาและการไหลทะลักของผู้ลี้ภัยไปยังบังกลาเทศเป็นเรื่องพาดหัวข่าวในสื่อในปัจจุบันนี้ ในฐานะที่เป็นชาวศรีลังกา ฉันสามารถสังเกตถึงความคล้ายคลึงกันของความขัดแย้งของการไร้สัญชาติซึ่งเกิดขึ้นในศรีลังกาเมื่อก่อนและในเมียนมาในปัจจุบันนี้ และวิธีการแก้ไขปัญหาของศรีลังกากับอินเดียสามารถเป็นเค้าโครงให้เมียนมาทำตามได้

ในปี 1948 เมื่อศรีลังกาได้รับอิสรภาพจากสหราชอาณาจักร ในชาติที่เป็นเกาะนี้มีชาวทมิฬซึ่งมีชื่อเรียกว่า “ชาวทมิฬอินเดีย” ประมาณหนึ่งล้านคนหลงเหลืออยู่ในศรีลังกา พวกเขาถูกนำตัวมายังศรีลังกาจากอินเดียใต้จากกลุ่มวรรณะจัณฑาลเพื่อมาทำงานในไร่ชาซึ่งก่อตั้งบนพื้นที่ที่ชาวอังกฤษได้ยึดจากชาวไร่ชาวนาชาวสิงหลซึ่งปฏิเสธที่จะทำงานในไร่สวนเหล่านั้น ดังนั้นการมาถึงของชาวทมิฬจึงได้สร้างความไม่พอใจให้ชาวสิงหล ชาวอังกฤษได้สร้างชุมชนของคนไร้สัญชาติซึ่งไม่ใช่ทั้งประชากรอินเดียหรือศรีลังกา

Read More...

การประชุมองค์การสหประชาชาติที่สำคัญในประวัติศาสตร์ให้คำมั่นสัญญาว่าจะฟื้นฟูสภาพมหาสมุทร

โดย J Nastranis

องค์การสหประชาชาติ (IDN) – มหาสมุทรของเรานั้นมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่ออนาคตที่เรามีร่วมกันและความหลากหลายทั้งหมดของมวลมนุษยชาติ มหาสมุทรของเรานั้นปกคลุมพื้นที่สามในสี่ของโลกเรา เชื่อมโยงประชากรและตลาดต่าง ๆ ของเราเข้าด้วยกัน และเป็นส่วนสำคัญของมรดกทางธรรมชาติและวัฒนธรรม

มันเป็นแหล่งที่มาของเกือบครึ่งหนึ่งของออกซิเจนที่เราใช้หายใจ ดูดซับมากกว่าหนึ่งในสี่ของคาร์บอนไดออกไซด์ที่เราสร้างขึ้นมา มีบทบาทสำคัญในวัฏจักรของน้ำและระบบภูมิอากาศ และยังเป็นแหล่งที่มาสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพและให้การช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ ต่อระบบนิเวศ

Read More...

ทำไมการใช้จ่ายเงิน 30 ดอลลาร์ต่อปีสำหรับวัยรุ่นแต่ละคนจึงเป็นสิ่งจำเป็น

โดย J Nastranis

นิวยอร์ก (IDN) – เงินจำนวนน้อยกว่า 30 ดอลลาร์ที่ใช้จ่ายต่อคนต่อปีสามารถสร้างความมหัศจรรย์สำหรับสุขภาพและการศึกษาของวัยรุ่นได้ ตามผลของการวิจัยที่ได้รับมอบหมายโดย UNFPA กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ

รายงานนี้ได้รับการตีพิมพ์ใน The Lancet ในคืนก่อนหน้าการประชุมฤดูใบไม้ผลิของธนาคารโลกในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ตั้งแต่ 21 เมษายนถึง 23 เมษายน 2017 ซึ่งผู้นำด้านการเงินและการพัฒนาจาก 188 ประเทศทั่วโลกเข้าร่วมเพื่อปรึกษาความต้องการที่สำคัญในการลงทุนในวัยรุ่น

The Lancet เป็นนิตยสารการแพทย์ทั่วไปนานาชาติอิสระที่มีจุดมุ่งหมายในการทำให้วิทยาศาสตร์ได้รับการเข้าถึงอย่างทั่วถึงเพื่อให้การแพทย์สามารถให้บริการและเปลี่ยนแปลงสังคมและส่งผลกระทบเชิงบวกต่อชีวิตของประชาชน

Read More...
Photo: Youths of Rocket and Space group in Kathmandu brainstorm on how to make their presentations on Sexual and Reproductive Rights more effective. Credit: Stella Paul | IDN-INPS

เยาวชนเนปาลทำให้การเข้าถึงการบริการด้านสุขภาพทางเพศง่ายยิ่งขึ้น

โดย Stella Paul

กาฐมาณฑุ (IDN) – Pabitra Bhattarai อายุ 21 ปี เป็นหญิงสาววัยรุ่นที่มีเสียงอ่อนหวานและรอยยิ้มที่เพียบพร้อม แต่ลองถามเธอเกี่ยวกับบริการด้านสุขภาพทางเพศ แล้วความอายเหล่านั้นจะหายไปในทันทีเมื่อเธอพูดอย่างมีอารมณ์ถึงการที่เยาวชนในประเทศของเธอต้องมีสิทธิ์เข้าถึงบริการดังกล่าว

“ประเทศของเราพึ่งพาบุคคลวัยรุ่น ดังนั้น เราไม่สามารถรับความเสี่ยงให้ประเทศเต็มไปด้วยวัยรุ่นที่มีเชื้อ HIV ได้ เราจำเป็นต้องมีการเข้าถึงอย่างเต็มรูปแบบต่อบริการด้านสุขภาพทางเพศและการสืบพันธุ์ (SRHR)” เธอกล่าวและฟังดูมีวุฒิภาวะมากกว่าอายุของเธออย่างมากในทันที

แต่อย่างไรก็ตาม การใช้วาทศิลป์อย่างเดียวนั้นไม่ใช่สิ่งที่ระบุตัวตนของ Bhattarai ผู้ซึ่งได้ให้คำปรึกษาและทำให้เยาวชนหลายร้อยคน – ซึ่งส่วนใหญ่เป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษา – ตระหนักถึง SRHR “ฉันได้ไปเยี่ยมโรงเรียนมากกว่า 20 แห่งในบัคตาปูร์ กีรติปูร์และลลิตปูร์” เธอกล่าว

Read More...
Photo: Youths of Rocket and Space group in Kathmandu brainstorm on how to make their presentations on Sexual and Reproductive Rights more effective. Credit: Stella Paul | IDN-INPS

เยาวชนเนปาลทำให้การเข้าถึงการบริการด้านสุขภาพทางเพศง่ายยิ่งขึ้น

โดย Stella Paul

กาฐมาณฑุ (IDN) – Pabitra Bhattarai อายุ 21 ปี เป็นหญิงสาววัยรุ่นที่มีเสียงอ่อนหวานและรอยยิ้มที่เพียบพร้อม แต่ลองถามเธอเกี่ยวกับบริการด้านสุขภาพทางเพศ แล้วความอายเหล่านั้นจะหายไปในทันทีเมื่อเธอพูดอย่างมีอารมณ์ถึงการที่เยาวชนในประเทศของเธอต้องมีสิทธิ์เข้าถึงบริการดังกล่าว

“ประเทศของเราพึ่งพาบุคคลวัยรุ่น ดังนั้น เราไม่สามารถรับความเสี่ยงให้ประเทศเต็มไปด้วยวัยรุ่นที่มีเชื้อ HIV ได้ เราจำเป็นต้องมีการเข้าถึงอย่างเต็มรูปแบบต่อบริการด้านสุขภาพทางเพศและการสืบพันธุ์ (SRHR)” เธอกล่าวและฟังดูมีวุฒิภาวะมากกว่าอายุของเธออย่างมากในทันที

Read More...

ผู้นำทางศรัทธามีบทบาทสำคัญต่อการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ

โดย Jaya Ramachandran

เจนีวา (IDN) – ตัวแทนขององค์กรที่มีรากฐานทางความศรัทธา (FBO) ตัวแทนจากสหประชาชาติ NGO และสถาบันการศึกษาได้เน้นย้ำถึงความจำเป็นในการทำให้ชุมชนทางศรัทธาในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการลดความเสี่ยงของภัยพิบัติ โดยรับฟังและพิจารณาถึงความคิดเห็นต่อผู้หญิงที่มักได้รับผลกระทบอันเลวร้ายที่สุดเป็นพิเศษ

การอภิปรายแบบโต๊ะกลมก่อนหน้าวันลดภัยพิบัติทางธรรมชาติระหว่างประเทศในวันที่ 13 ตุลาคมยังได้ร้องขอต่อการสนับสนุนต่อชุมชนทางศรัทธาในท้องถิ่นด้วยการจัดกิจกรรมลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ (DRR) และเพิ่มการสนับสนุนของ FBO โดย ‘การใช้’ ทุนทางจิตวิญญาณของพวกเขา

Read More...

ลาวเพิ่ม SGD18 เพื่อจัดการกับระเบิดของอเมริกันที่ยังไม่ระเบิด

โดย Kalinga Seneviratne

เวียงจันทน์ (IDN) – การเยี่ยมเยียนของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา บารัก โอบามาในต้นเดือนกันยายนช่วยเน้นความใส่ใจต่อหนึ่งในอาชญากรรมสงครามที่น่ากลัวที่สุดในประวัติศาสตร์ การทิ้งระเบิดประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เล็ก ๆ ที่ไร้ซึ่งทางออกสู่ทะเลในระหว่างสงครามอินโดจีนในปี 1960 และ 1970 รวมทั้งประชากรขนาดใหญ่และค่าใช้จ่ายในการพัฒนาของตน

ชาวลาวใช้ประโยชน์จากการเยี่ยมเยียนของทั้ง โอบามาและเลขาธิการสหประชาชาติ พันกีมุน สำหรับการประชุมสุดยอด อาเซียน (ASEAN) และ เอเชียตะวันออก (East Asia) เพื่อเริ่มดำเนินการเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 18 ประการของตนเองเพื่อลดผลกระทบของสรรพาวุธที่ยังไม่ระเบิด (UXO) ในการพัฒนาและกิจกรรมทางเศรษฐกิจ

Read More...

NEWSLETTER

STRIVING

MAPTING

MAPTING

Scroll to Top