Home – SDGs for All

A project of the Non-profit International Press Syndicate Group with IDN as the Flagship Agency in partnership with Soka Gakkai International in consultative status with ECOSOC

Watch out for our new project website https://sdgs-for-all.net

Photo: A World Food Programme (WFP) representative in Bolivia talks to Uru-Murato indigenous women about COVID-19 awareness and healthy nutrition practices. Credit: WFP/Morelia Eróstegui

หลุมลึกของความรวย-จนขยายกว้างขึ้น 5 ปีหลังการนำเป้าหมายของการพัฒนาอย่างยั่งยืนมาปรับใช้

โดย J Nastranis

นิวยอร์ก (IDN) – 2020 จะเป็นปีที่ถูกจดจำเนื่องจากเป็นปีที่การแพร่ระบาดของไวรัสได้ทำให้โลกต้องปิดตัวเอง ทำให้หลุมลึกระหว่างความรวยและความจนขยายกว้างมากขึ้น กระตุ้นให้เกิดความยากจนขัดสนขึ้นอย่างรวดเร็วซึ่งเป็นครั้งแรกในรอบหลายทศวรรษ และได้โต้กลับให้สหประชาชาติต้องพยายามสร้างสังคมที่มีความเสมอภาคเท่าเทียมกันมากขึ้นซึ่งเสี่ยงต่อเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนที่ได้รับการเห็นชอบอย่างเป็นสากลในเดือนกันยายน 2015

โดยในช่วงต้นเดือนธันวาคม สหประชาชาติได้เตือนว่ารายงานบันทึก 235 ล้านคนจะต้องการความช่วยเหลืออย่างมีมนุษยธรรมในปี 2021 ประกอบกับการเพิ่มขึ้นบางส่วน 40 เปอร์เซ็นต์ในปี 2020 ซึ่งเกือบจะทั้งหมดเป็นผลจากการแพร่ระบาด

Read More...
Collage of the mass grave at the Killing Field of Choeung Ek with the leader of the Killing Fields on the left. Source: Wikimedia.

การเสียชีวิตของผู้นำแห่ง “ทุ่งสังหาร” ก่อให้เกิดการตั้งคำถาม

มุมมองจากโจนาธาน พาวเวอร์*

สำนักข่าว IDN เมืองลุนด์ ประเทศสวีเดน รายงานว่า หนึ่งในชายที่อำมหิตที่สุดเท่าที่เคยมีมา เสียชีวิตแล้วเมื่อวันที่ 2 กันยายนที่ผ่านมาในกรุงพนมเปญ เมืองหลวงของกัมพูชา นายคัง เก็ก เอียว หรือที่รู้จักกันในชื่อ “สหายดุช” เสียชีวิตในวัย 77 ปี เขาถูกศาลอาชญากรรมสงครามร่วม
ของสหประชาชาติและกัมพูชาตัดสินจำคุกฐานก่ออาชญากรรมต่อมนุษยชาติ โดยเป็นเพียง คนเดียวจากจำเลยทั้งห้าคนที่ยอมรับว่าตนก่ออาชญากรรม ซึ่งในการพิจารณาคดีเมื่อเดือน กรกฎาคมปี 2553 ที่คัง เก็ก เอียว ถูกตัดสินจำคุกตลอดชีวิต ผมก็ได้อยู่ในเหตุการณ์ด้วย

Read More...

COVID-19: ควรจะให้ความสำคัญกับเศรษฐกิจมากกว่าสุขภาพของแรงงานข้ามชาติหรือไม่?

จากมุมมองของ Kalinga Seneviratne

ซิดนีย์ (IDN) – ในหลาย ๆ เมืองได้อธิบายความหมายของการเคลื่อนย้ายแรงงานว่าเป็นการค้าทาสแห่งศตวรรษที่ 21 และวิกฤติ Covid-19 ได้เผยให้เห็นถึงความเป็นจริงทั้งหมดนี้ แรงงานข้ามชาติชาวยุโรปตะวันออกในยุโรป แรงงานก่อสร้างที่ไม่ได้รับค่าตอบแทนที่ต้องอยู่อย่างอด ๆ อยาก ๆ ในตะวันออกกลาง มีการปิดห้องพักหลายร้อยหลังของชาวเอเชียใต้ซึ่งเป็นแรงงานข้ามชาติที่อาจจะติดเชื้อ Covid-19 ในสิงคโปร์ มีการแสดงให้เห็นถึงการขาดความเห็นอกเห็นใจต่อแรงงานข้ามชาติมากมายของเศรษฐกิจทั่วโลกซึ่งเป็นผู้ขับเคลื่อนเครื่องจักรสำคัญของเศรษฐกิจในทุกวันนี้

Read More...
Photo: Collage of Biram Dah Abeid from Mauritania and Shaparak Shajarizadeh of Iran.

นักเคลื่อนไหวชาวมอริเตเนียเพื่อต่อต้านการค้าทาสและนักเคลื่อนไหวชาวอิหร่านด้านสิทธิสตรีได้รับมอบรางวัล

โดย เจมชิด บาเรือห์

กรุงเจนีวา (IDN) – นายบิรัม ดาห์ อาบิด เป็นทายาทของอดีตทาสที่ได้รับการขนานนามว่า “เนลสัน แมนเดลา แห่งมอริเตเนีย” และนางชาปารัก ชาจาริซาเดห์ นักเคลื่อนไหวด้านสิทธิสตรีชาวอิหร่านที่มีชื่อเสียงผู้ได้รับการยกย่องในความกล้าหาญต่อสู้กับการละเมิดสิทธิมนุษยชนอันแสนเลวร้าย

นายอาบิด ผู้ก่อตั้งโครงการริเริ่มเพื่อการฟื้นคืนการเคลื่อนไหวของผู้รณรงค์การเลิกทาส (IRA) ได้ระดมชาวมอริเตเนียหลายหมื่นคนเพื่อประท้วงการค้าทาส และความล้มเหลวของรัฐบาลในการใช้กฎหมายต่อต้านการค้าทาส

Read More...

สหประชาชาติให้ความสำคัญกับบทบาทของสตรีในการรับรองความปลอดภัยของอาหาร

โดย Santo D. Banerjee

นิวยอร์ก (IDN) – นับตั้งแต่มีการค้นพบวันสตรีชนบทสากลในวันที่ 15 ตุลาคม 2008 มีข้อตกลงว่าสตรีและเด็กสาวชนบท รวมถึงสตรีพื้นเมืองมีบทบาทที่สำคัญในด้านการปรับประสิทธิภาพทางการเกษตรและการพัฒนาชนบท การปรับปรุงความปลอดภัยของอาหาร และการกำจัดความยากจนในชนบท  

ในความเป็นจริงเมื่อสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติก่อตั้งวันสากลใหม่ด้วยการลงมติ 62/136 ในวันที่ 18 ธันวาคม 2007 โดยเรียกว่า “การให้ความสำคัญในระดับใหญ่กว่ากับการพัฒนาสถานการณ์ของสตรีชนบท รวมถึงสตรีพื้นเมือง ด้วยกลยุทธ์การพัฒนาประเทศ ภูมิภาค และทั่วโลก”

Read More...

ชาวนาไทยแสดงให้เห็น ‘เศรษฐกิจพอเพียง’ ได้ผลในทางปฏิบัติ

โดย บรอนเวน อีแวนส์ (Bronwen Evans)*

จันทบุรี ประเทศไทย (IDN) – มีสองเหตุผลทั่วไปเกี่ยวกับสาเหตุที่ชาวนาไทยจึงนิยมใช้เกษตรอินทรีย์ – หนึ่งในนั้นคือสุขภาพและอีกหนึ่งเหตุผลคือเศรษฐกิจ สำหรับ Kumnung Chanthasit วัย 73 ปี นั้นเป็นเหตุผลหลัง เขาทำนาในที่ดินแปลงเดิมในจังหวัดจันทบุรีทางภาคตะวันออกของประเทศไทยตั้งแต่ยังเป็นเด็ก แม้จะเป็นดินภูเขาไฟที่อุดมสมบูรณ์ เขาพบว่าตัวเองเขากลับจมลึกลงไปในหนี้สินมากยิ่งขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากเขาต้องกระเสือกกระสนในการชำระค่าปุ๋ยและยาฆ่าแมลงที่เขาคิดว่าจำเป็นต้องใช้ี

Read More...

ความแคระแกร็นคืออุปสรรคต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในอินเดีย

โดย Sudha Ramachandran

บังคาลอร์ (IDN) – ความต้องการของอินเดียในการเพิ่มความพยายามของตนเป็นสองเท่าเพื่อลดภาวะแคระแกร็นในกลุ่มเด็ก ๆ ไม่ได้เป็นเพียงเพราะการพัฒนาด้านจิตใจและทางกายภาพของพวกเขา แต่ยังเกี่ยวกับความสามารถในการเรียนรู้และโอกาสในชีวิต อีกทั้งเพื่อให้ทันการณ์ตามกำหนดเวลาปี 2022 ที่กำหนดโดยภารกิจโภชนาการแห่งชาติ (National Nutrition Mission) ของตนและเพื่อให้โลกได้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ก่อนปี 2030 อีกด้วย

ตามระบบบริการสุขภาพแห่งชาติของอินเดีย – ภาพที่ 3 และ 4 (NFHS-3 และ 4) สัดส่วนของเด็กในประเทศที่ต่ำกว่าอายุห้าปีที่มีภาวะแคระแกร็นลดลงจาก 48% ในปี 2006 เป็น 38% ในปี 2016 ในขณะที่การลดภายในระยะเวลาสิบปีนั้นมีนัยสำคัญ โดยการลดลงต่อปีอยู่ที่เพียง 1%

Read More...

การปล้นสะดมทรัพยากรแร่ทิ้งท้ายปัญหาด้านความยากจนแก่ชาวแอฟริกัน

โดย เจฟฟรีย์ โมโย (Jeffrey Moyo)

ฮาราเร (IDN) – กว่าทศวรรษที่ผ่านมา เขาสูญเสียบ้านเนื่องจากนักขุดเหมืองเพชรจากจีนเผามันเป็นจุณเพียงเพื่อค้นหาอัญมณี กระทั่งในปัจจุบันนี้  Tobias Mukwada อายุ 74 ปี ยังคงอาศัยอยู่กับครอบครัวของเขาในกระท่อมหลังคามุงจากโกโรโกโส พวกเขาสร้างขึ้นมาด้วยหวังเพียงว่า ในสักวันหนึ่งพ่อค้าเพชรจากจีนอาจจะจดจำพวกเขาได้และเสนอบ้านที่เหมาะสมให้กับพวกเขา

แต่สำหรับ Mukwada และครอบครัวของเขาที่ยากจนข้นแค้นนั้น นั่นอาจเป็นการรอคอยที่เปล่าประโยชน์

Read More...

การปล้นสะดมทรัพยากรแร่ทิ้งท้ายปัญหาด้านความยากจนแก่ชาวแอฟริกัน

โดย เจฟฟรีย์ โมโย (Jeffrey Moyo)

ฮาราเร (IDN) – กว่าทศวรรษที่ผ่านมา เขาสูญเสียบ้านเนื่องจากนักขุดเหมืองเพชรจากจีนเผามันเป็นจุณเพียงเพื่อค้นหาอัญมณี กระทั่งในปัจจุบันนี้  Tobias Mukwada อายุ 74 ปี ยังคงอาศัยอยู่กับครอบครัวของเขาในกระท่อมหลังคามุงจากโกโรโกโส พวกเขาสร้างขึ้นมาด้วยหวังเพียงว่า ในสักวันหนึ่งพ่อค้าเพชรจากจีนอาจจะจดจำพวกเขาได้และเสนอบ้านที่เหมาะสมให้กับพวกเขา

แต่สำหรับ Mukwada และครอบครัวของเขาที่ยากจนข้นแค้นนั้น นั่นอาจเป็นการรอคอยที่เปล่าประโยชน์

Read More...
Photo: Bangkok's Khaosan area at night, with street vendors. Credit: Kalinga Seneviratne | IDN-INPS

การดำรงชีพอย่างยั่งยืนเบื้องหลังการจำหน่ายสินค้าบนถนนในประเทศไทย

โดย Kalinga Seneviratne

ข้าวสาร กรุงเทพ (IDN) – เมื่อผู้คนพูดคุยเกี่ยวกับการพัฒนาการที่ยั่งยืน แทบไม่มีผู้ใดเลยที่เอ่ยถึงคนค้าขายริมถนนจำนวนมากที่เลี้ยงชีพบนถนนในประเทศไทยจากทั่วทั้งส่วนที่เหลือของเอเชีย

แม้แต่ความพยายามนับครั้งไม่ถ้วนเพื่อยับยั้งไม่ให้พวกเขาทำธุรกิจ – เช่นเดียวกับความพยายามที่ยาวนานนับปีของผู้ว่าราชการของกรุงเทพมหานครที่ไม่ประสบผลสำเร็จในการกวาดล้างคนค้าขายริมถนนบนถนนในเมือง – ผ่านไปโดยไม่มีใครสังเกตเห็นได้ในสื่อ

“การจำหน่ายสินค้าบนถนนมีแนวโน้มที่จะดึงดูดนักท่องเที่ยวไปยังกรุงเทพ มันเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตแบบไทยและนักท่องเที่ยวต้องการที่จะสัมผัสมัน” Pattama Vilailert ผู้ให้คำปรึกษาด้านการท่องเที่ยวกล่าว “นักท่องเที่ยวบางรายมาประเทศไทยเพื่อลิ้มรสชาติอาหารริมทางที่สมเหตุสมผล (โดยเฉพาะ)”

Read More...

NEWSLETTER

STRIVING

MAPTING

MAPTING

Scroll to Top